TKP HEADLINE

จักสาน : อาชีพ




การประกอบอาชีพจักสานของประชาชนบ้านสันมะกรูด หมู่ 2 ตำบลบ้านแป้น มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มกันเรียกว่า กลุ่มจักสานบ้านแป้น ประกอบด้วยประชาชน หมู่ 8 และหมู่ 2 ตำบลบ้านแป้น โดยมีนายจัด หมื่นศรี เป็นประธานกลุ่ม ....อ่านเพิ่มเติม

ผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ

   ในตำบลประตูป่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ได้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อฝึกอาชีพที่สามารถมีรายได้ รายได้เสริม นั่นก็คือ การทำผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ  เป็นอาชีพเสริมที่สร้างรายได้ให้คนในครอบครัว ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาวัสดุได้จากท้องถิ่น อ่านเพิ่มเติม...

วัดต้นแงะ


  วัดต้นแงะสร้างเมื่อ พ.ศ.2306 เดิมชื่อวัดป่าสัก บริเสณสถานที่ตั้งวัดเป็นสุสานที่ไม่ได้ใช้แล้ว มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น ต่อมามีพระภิกษุรูปหนึ่งได้มาบำเพ็ญศีลภาวนา ชาวบ้านจึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงได้พร้อมใจกันพัฒนาบริเวณป่าช้าเก่าและร่วมกันบริจาคปัจจัยเพื่อสร้างอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ขึ้น อ่านเพิ่มเติม...

แนะนำหนังสือ : ความเชื่อคือเข็มทิศ ชีวิตเป็นของเรา


“ความเชื่อคือเข็มทิศ ชีวิตเป็นของเรา” คือผลงานฟาสต์ฟู้ดธุรกิจ ลำดับที่ 22 ของ ‘หนุ่มเมืองจันท์’หนุ่มรวยอารมณ์ขันเจ้าประจำที่หลายคนคุ้นหน้าคุ้นตาไม่ว่าจะในฐานะพิธีกรและคณะกรรมการในจอแก้ว, ครูใหญ่ในคอร์สสอนความคิดสร้างสรรค์ ABC,คอลัมนิสต์ผู้เปี่ยมคมคิดในคอลัมน์ Market-Think แห่งประชาชาติธุรกิจ, ฟาสต์ฟู้ดธุรกิจในมติชนสุดสัปดาห์และที่เราคุ้นเคย คือพี่ “หนุ่ม” (จัง) ในอ้อมอกอ้อมใจแฟนหนังสือ...อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีสุพรรณ

วัดศรีสุพรรณ ตั้งอยู่เลขที่ 33 บ้านศรีสุพรรณ หมู่ที่ 6 ตำบลประตูป่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน วัดศรีสุพรรณ สร้างเมื่อ พ.ศ.2442 โดยมีเจ้าแก้วมนุษย์ ณ ลำพูน อ่านเพิ่มเติม...

แนะนำหนังสือ : KIDS ได้ KIDS ดี


"Kids ได้ Kids ดี The Best Way for Kids" คู่มือเลี้ยงลูกวัยรุ่นที่ผู้เขียนกลั่นกรองจากประสบการณ์ตรง และการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับพ่อแม่ที่มีลูกวัยรุ่นมาเป็นระยะเวลานาน เพื่อต้องการช่วยให้พ่อแม่ที่กำลังมีความทุกข์และวิตกกังวลมีกำลังใจ เข้าใจปัญหา...อ่านเพิ่มเติม

วัดล่ามช้าง

วัดล่ามช้างสร้างมาแล้วตั้งแต่สมัยล้านนา จากข้อมูลที่ได้จากศิลาจารึกวัดต้นผึ้ง เลขทะเบียน ๓๔๕/๑๘ (ลพ.๘) ขนาดกว้าง ๔๐ ซ.ม. สูง ๗๘ ซ.ม. หนา ๑๓ ซ.ม. จากวัดต้นผึ้ง ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกัน ที่ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน และในปัจจุบัน เก็บรักษาไว้ในห้องศิลาจารึก อ่านเพิ่มเติม...

ตำนานสลากย้อมเมืองลำพูน


สลากย้อม เป็นพิธีทานสลากพิเศษของชาวไทยอง สลากย้อมนี้จะประดิษฐ์จากต้นไม้หรือ กิ่งไม้สูงประมาณ 4-5 วา มีร่มกางที่ปลายยอด ลำต้นของสลากจะมีฟางมัดเป็นกำ ๆ สำหรับปักไม้ไผ่ที่ผูกแขวนเครื่องปัจจัยไทยทาน ซึ่งเครื่องไทยทานนั้นจะเป็นเครื่องประดับ ของมีค่า เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งทำให้เห็นความเชื่อที่ว่า ผู้ที่ถวายทานสลากย้อมนี้มีเครื่องใช้ในการครองเรือนและมีคุณสมบัติครบถ้วนแก่การครองเรือนแล้วนั่นเอง ทั้งนี้สลากย้อมดังกล่าว เมื่อทำพิธีถวายแก่พระสงฆ์แล้ว เจ้าตัวก็จะรีบบูชากลับคืนไป และจากการสังเกตจากสำนวนคำร่ำสลากย้อมแล้ว พบว่ามีการเรียกสลากชนิดนี้ว่า “กัปปรุกขา” หรือต้นกัลปพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ในนิยายที่อาจบันดาลสิ่งต่าง ๆ ตามความประสงค์ของผู้ขอได้...อ่านเพิ่มเติม

ผ้าทอยกดอก


งานศิลปะที่ชาวลำพูนมีความภูมิใจมากที่สุดก็คือ “การทอผ้าไหมยกดอก” ซึ่งเป็นผ้าไหมชนิดพิเศษที่ทำขึ้นจากใยของตัวไหม มีคุณสมบัติคือ เหนียว คงทน ต้านทานแรงดึงได้สูง เนื้อผ้าไหมมีความหนาแน่น เป็นเงามันและมีประกายสวยงาม ไม่นำความร้อนทำให้ผู้สวมใส่รู้สึกสบาย...อ่านเพิ่มเติม

วัดสันป่ายางหลวง


วัดสันป่ายางหลวง ตั้งอยู่ในหมู่บ้านสันป่ายางหลวงตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เป็นวัดที่ติด 1 ใน 5 วัดที่สวยที่สุด ในประเทศไทย ภายในวัดสันป่ายางหลวงมีการแกะสลักลวดลายปูนปั้นไว้อย่างวิจิตรงดงาม...อ่านเพิ่มเติม

วัดจามเทวี


วัดจามเทวี หรือที่ ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดกู่กุด ตั้งอยู่บนถนนจามเทวี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เป็นวัดเก่าแก่ที่สำคัญมา ตั้งแต่สมัยล้านนาไทย ที่มีความสําคัญทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดีตามหลักฐานที่ได้พบศิลาจารึกเชื่อว่า พระราชโอรส ของพระนางจามเทวีคือ พระเจดีย์มหันตยศ และพระเจ้าอนันตยศโปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้ นเพื่อถวายพระเพลิง...อ่านเพิ่มเติม









'

พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหริภุญไชย


พิพิธภัณฑ์ที่มากคุณค่าและมีสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นที่เล่าประวัติความเป็นมาของเมืองลำพูนได้อย่างครบถ้วน ก่อตั้งขึ้นในปี 2550 เพื่ออนุรักษ์อาคารเก่าที่อยู่ในเขตเมือง...อ่านเพิ่มเติม

วัดชัยมงคล (วังมุย)

วัดชัยมงคล สร้างขึ้นด้วยความร่วมแรงร่มใจของชาววังมุย โดยมีครูบาเจ้าชุ่ม โพธิโก เป็นองค์ประธาน มูลเหตุของการดำริสร้างวัด มาจาการที่วัดเก่า คือวัดศรีสองเมืองประจำบ้านวังมุย ประสบอุทกภัยอยู่เนืองนิจ ชาววังมุยจึงได้สร้างวัดใหม่ คือ วัดชัยมงคลขึ้นสถานที่ตั้งของวัดใหม่ อ่านเพิ่มเติม...

หอไตรวัดประตูป่า

 หอไตรหรือหอธรรม วัดประตูป่าสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2437 สมัยครูบาอริยะ เจ้าอาวาส รูปที่ 4 ตัวอาคารเป็นฝีมือชาวยองสร้างด้วยไม้สัก ยกพื้นสูงใต้ถุนโล่งชั้นเดียว ชั้นบนมีชานสามารถเดินได้รอบมีทางเข้าด้านหน้าเพียงด้านเดียว ประตูและผนังเป็นเขียนลายทองเป็นรูป นกยูง และเทวดา อ่านเพิ่มเติม...

พิพิธภัณฑ์ครูบาชุ่ม โพธิโก

 วัดชัยมงคล หรือที่ชาวบ้านเรียกวว่า 'วังมุย' เป็นวัดเล็ก ๆ ในตำบลประตูป่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน  แม้จะเป็นวัดเล็กแต่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป เนื่องมาจากเจ้าอาวาสรูปแรกคือ ครูบาชุ่ม โพธิโก (พ.ศ. 2442- 2519) ท่านเป็นอริยสงฆ์ที่มีความรู้และเป็นที่นับถืออย่างกว้างขวาง มีศิษยานุศิษย์มากมายที่ศรัทธาในบารมีของท่าน อ่านเพิ่มเติม...

มีแพคเกจที่ดี


การห่อบรรจุที่ไม่ได้มาตรฐานนั้นอาจจะทำให้รสชาติเปลี่ยนกลิ่นเพี้ยนไป แต่การมีแพ็คเกจที่ได้มาตรฐาน อากาศและความชื้นจากภายนอกไม่เข้า นั้นจะทำให้ลำไยอบแห้งคงคุณภาพได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้...อ่านเพิ่มเติม

อบลำไยด้วยไม้ลำไย


วิธีการอบลำไยจริง ๆ แล้วสามารถใช้ไม้อะไรอบให้ความร้อนก็ได้ แต่สำหรับที่นี่ต้องเป็นไม่ลำไยเท่านั้น! เหตุผลก็คือ การอบด้วยไม้ลำไยนั้นจะให้กลิ่นหอมที่เข้ากับเนื้อลำไยได้ดีที่สุด ช่วยเพิ่มอรรถรสในการเคี้ยวได้อย่างสูง...อ่านเพิ่มเติม

ลำไยไม่ย้อมแมว


ลำไยที่นำมาอบแห้งของที่นี่เป็นลำไยเกรดดีจริง ๆ ไม่เนียนเอาลำไยเกรดต่ำมาทำแล้วติดป้ายบอก AAA ซึ่งตรงนี้เราสังเกตได้จากเวลาที่เคี้ยวเนื้อเนื้อลำไย...อ่านเพิ่มเติม

ธนาคารสายพันธุ์ลำไยตำบลหนองช้างคืน (Longan Community BioBank)


บ้านหนองช้างคืน ตามประวัติศาสตร์ล้านนาไทยที่ นายจอม นนทะธรรม ได้เขียนไว้ว่า ในสมัยที่เจ้าดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ ครองเมืองหริภุญชัย ได้เกิดมีนิยายรักระหว่างหญิงสาว ชาวบ้านหนองช้างคืน ชื่อว่า “บัวตอง” กับหนุ่มเชื้อสายเจ้าผู้ครองนครหริภุญชัย ชื่อว่า “เจ้าตุ้ม” หรือ “เจ้าน้อยพรหม” ซึ่งเมื่อตอนบวชอยู่มีฉายาว่า “พรหมปัญโญ”...อ่านเพิ่มเติม

สลากย้อม

เป็นพิธีทานสลากพิเศษของชาวไทยอง สลากย้อมนี้จะประดิษฐ์จากต้นไม้หรือ กิ่งไม้สูงประมาณ 4-5 วา มีร่มกางที่ปลายยอด ลำต้นของสลากจะมีฟางมัดเป็นกำ ๆ สำหรับปักไม้ไผ่ที่ผูกแขวนเครื่องปัจจัยไทยทาน ซึ่งเครื่องไทยทานนั้นจะเป็นเครื่องประดับ ของมีค่า เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน อ่านเพิ่มเติม...

งานปอยหลวง

ประเพณีงานปอยหลวงเป็นงานทำบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ อ่านเพิ่มเติม...

ดอยขะม้อ บ่อน้ำทิพย์ ลำพูน


บ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ดอยขะม้อตั้งอยู่บนภูเขาทางทิศตะวันออกของอำเภอเมืองลำพูน อันเป็นส่วนหนึ่งของป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ-แม่ตีบ-แม่สาร ในเขตท้องที่ตำบลมะเขือแจ้ มีลักษณะสูงชัน ยอดเขาแหลมแตกต่างจากบอดเขาที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันดุจกับเคยเป็นภูเขาไฟมาก่อน มีลักษณะเหมือน”หม้อคว่ำ” ชาวเมืองแต่โบราณเรียกว่า “ดอยหม้อคว่ำ”ภายหลังเพี้ยนมาเป็น “ดอยขะม้อ”ปัจจุบันนี้บางคนเรียกว่า”ดอยขะม้อบ่อน้ำทิพย์” เพราะว่าบนยอดดอย มีบ่อน้ำเกิดกลางแผ่นดินสูง จึงถือว่าเป็นบ่อน้ำศํกดิ์สิทธิ์หรือชาวบ้านเรียกว่า “บ่อน้ำทิพย์” ...อ่านเพิ่มเติม

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร

การประกอบอาชีพของราษฎรในตำบลศรีบัวบาน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรโดยมีการเพาะปลูกข้าว และลำไย เป็นหลัก ซึ่งตำบลศรีบัวบานนั้น เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการเพาะปลูกลำไยเป็นจำนวนมาก โดยมีพื้นที่ปลูกทั้งสิ้น 6,478 ไร่ เกษตรกรผู้ปลูกลำไย 752 ราย ปัญหาการผลิตลำไยในพื้นที่ คือผลผลิตกระจุกตัวในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม เกษตรกรขาดการปฏิบัติดูแลสวนที่ดี อ่านเพิ่มเติม...

“ประเพณีสลากย้อม" หนึ่งเดียวในโลกที่จังหวัดลำพูน

“กะโลง”ท่อนแรกของชุมชนแห่งหนึ่งซึ่งเล่าถึงกระบวนการทำต้นสลากย้อม ที่พวกเขาบรรจงสรรสร้างขึ้นมาอย่างตั้งอกตั้งใจ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ณ วัดพระธาตุหริภุญชัย ในงานประเพณี“สลากภัต สลากย้อม” อันเก่าแก่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดลำพูน...อ่านเพิ่มเติม

การทอผ้าฝ้ายยกดอกลำพูน


การทอผ้าฝ้ายยกดอกลำพูน หัตถกรรมทอผ้าพื้นบ้าน เป็นงานฝีมือที่เชื่อมโยงถึงศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีการดำรงชีวิตของคนพื้นบ้านในแต่ละยุคสมัยตามกาลเวลาและการหล่อหลอมให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมจนเป็นเอกลักษณ์ตามลักษณะของพื้นบ้านตน...อ่านเพิ่มเติม

ป่าน้ำจำ

ชุมชนบ้านทุ่งยาว ต.ศรีบัวบาน อ.เมือง จ.ลำพูน ได้ชื่อว่าเป็นชุมชนคนรักป่าที่นักสิ่งแวดล้อมต่างรู้จักกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะชื่อของ “ป่าน้ำจำ” ซึ่งคำๆ นี้ได้แพร่หลายออกไปเมื่อหลายสิบปีโดยมีจุดเริ่มต้นจากจากการเริ่มทำเหมืองฝายเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับเศรษฐกิจชุมชน ในปี 2466 อ่านเพิ่มเติม...

วัดพระธาตุหริภุญชัย

วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำพูน ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 150 เมตร มีถนนล้อมรอบสี่ด้าน คือ ถนนอัฏฐารสทางทิศเหนือ ถนนชัยมงคลทางทิศใต้ ถนนรอบเมืองทาง ทิศตะวันออก และถนนอินทยงยศทางทิศตะวันตก อ่านเพิ่มเติม...

พิธีบวชป่า

พิธีบวชต้นไม้” มีวิธีคิดและวิธีการปฏิบัติคล้ายคลึงกับ “พิธีสืบชะตาแม่น้ำ หรือ คน” ด้วยการต่ออายุให้เจริญยั่งยืนสืบไป พิธีบวชต้นไม้หรือพิธีบวชป่าเป็นพิธี ที่ยังคงสืบทอดประเพณีมาถึงปัจจุบัน  มีการประกอบพิธีบวชต้นไม้ ต้นไม้ที่มีอายุยาวนาน หลายปี อ่านเพิ่มเติม...

การปั้นตุ๊กตาดินเผา


ตุ๊กตาดินเผาของไทย เป็นศิลปะพื้นบ้านที่ทำต่อเนื่องกันมาอย่างช้า นานและทำขึ้นตามคติประเพณีการใช้สอยในชีวิตประจำวันของชาวบ้านที่เกิดขึ้นตามลักษณะนิสัยของคนไทย เป็นความคิดในการประดิษฐ์ให้เป็นตุ๊กตาชาวบ้าน...อ่านเพิ่มเติม

การเลี้ยงผีขุนน้ำ

ชาวชนบทล้านนามีความผูกพันกับวิถีชีวิตเกษตรมาโดยตลอดปัจจัยสำคัญที่ทำให้การเกษตรดำรงอยู่ได้คือ น้ำ และมีความเชื่อว่าน้ำจะอุดมสมบูรณ์มีมากน้อยหรือฝนตกต้องตามฤดูกาลหรือไม่นั้น ผู้ที่บันดาลให้เกิดขึ้นคือ พลังเร้นลับเหนือธรรมชาติที่รวมเรียกกันว่า ผีขุนน้ำ อ่านเพิ่มเติม...

ทำเฟอร์นิเจอร์

 บ้านม้าเหนือในอดีตชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา เลี้ยงสัตว์ มาก่อน  และมีการทำเฟอริ์นิเจอร์ (ชุดรับแขกไม้งอ) และทำเกวียนลากข้าว รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์อื่น ๆ ซึ่งในสมัยนั้นอาศัยไม้ที่นำมาจากป่า อ่านเพิ่มเติม...

กู่ช้างกู่ม้า


กู่ช้าง กู่ม้า เป็นโบราณสถานที่ตั้งอยู่คู่กัน เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองอีกแห่งหนึ่งที่ชาวลำพูนให้ความเคารพนับถือ เมื่อต้องการ สมหวังในสิ่งใด ก็มักจะมา ขอพรกันที่นี่ เรียกได้ว่าเป็นทั้งโบราณสถานที่มีความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ตลอดจนเป็น ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของคนในชุมชน ด้วยความเชื่อว่าเป็นสุสานช้างศึก - ม้าศึก คู่บารมีของพระนางจามเทวี...อ่านเพิ่มเติม

อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล


อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในพื้นที่อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน และอำเภอห้างฉัตร อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง สภาพพื้นที่เป็นป่าอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ซึ่งเป็นบรรยากาศที่เงียบสงบ และอุโมงค์ขุนตานซึ่งเป็นอุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย...อ่านเพิ่มเติม

พระบรมธาตุหริภุญไชย


พระบรมธาตุหริภุญไชย  เป็นเจดีย์แบบล้านนาไทยแท้ๆ ที่ลงตัวสวยงาม ภายในบรรจุพระเกศบรมธาตุบรรจุในโกศทองคำ ประดิษฐานในพระเจดีย์ ประกอบด้วยฐานปัทม์ แบบฐานบัวลูกแก้ว ย่อเก็จ ต่อจากฐานบัวลูกแก้วเป็นฐานเขียงกลมสามชั้น ตั้งรับองค์ระฆังกลม บัลลังก์ย่อเหลี่ยม เจดีย์มีลักษณะใกล้เคียงกับ พระธาตุดอยสุเทพที่จังหวัดเชียงใหม่...อ่านเพิ่มเติม

วัดจามเทวี

วัดจามเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดกู่กุด หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “พระเจดีย์สุวรรณจังโกฏ”ตั้งอยู่ริมถนนจามเทวี ตำบลในเมือง สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๒๙๘ ฝีมือช่างละโว้ ลักษณะ พระเจดีย์เป็นสี่เหลี่ยมแบบพุทธคยาในประเทศอินเดีย แต่ละด้านมีพระพุทธรูปยืนปางประทานพรอยู่เป็นชั้นๆ อ่านเพิ่มเติม...

สะพานขาวทาชมภู


การสร้างสะพานทาชมภูมีปัญหาอยู่ช่วงหนึ่งคือ ในช่วงฤดูน้ำหลากจะมีการล่องไม้ซุงมาตามลำน้ำแม่ทา ทำให้ไม้ซุงไหลมาติดตรงบริเวณการก่อสร้างสะพานเป็นจำนวนมาก พอน้ำลดต้องนำช้างมาชักลากออกไป จึงทำให้งานสร้างสะพานล่าช้าไปด้วย  ปัจจุบัน เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ สะพานบ้านทาชมภูเป็นสะพานที่สวยงามอยู่ในบริเวณภูมิทัศน์ที่โดดเด่นของอำเภอ แม่ทาจังหวัดลำพูน...อ่านเพิ่มเติม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย เป็นสถานที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่ได้มาจากวัดสำคัญและแหล่งโบราณคดีในจังหวัดลำพูน จำนวนกว่า 3,000 ชิ้น...อ่านเพิ่มเติม

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน


เนื่องจากชาวบ้านไม่มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน โดยเริ่มจากกลุ่มผู้ปลูกพืชผักปลอดสารพิษเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน โดยมีการไฟฟ้าฝ่ายผลิต สำนักงานเกษตร อำเภอแม่ทา สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอแม่ทาและสถานีพัฒนาที่ดินลำพูน ให้การสนับสนุนทั้งนี้ ศูนย์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง...อ่านเพิ่มเติม

วัดมหาวัน

 วัดมหาวันวนาราม ตั้งอยู่ใกล้คูเมือง ด้านทิศตะวันตก ถ.จามเทวี ในเขตเมืองลำพูน วันมหาวัน จังหวัดลำพูนนั้นใช่ว่าจะมี ความสำคัญเพราะเพียงแค่มีพระรอดเพียงอย่างเดียวเท่านั้น  ความสำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือวัดแห่งนี้เคยเป็นพระอารามหลวง ของพระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญ  สิ่งที่น่าชมคือ พระพุทธสิกขิ หรือพระศิลาดำ อ่านเพิ่มเติม...

เกษตรกรลำพูน


นายคำรณ สุรินธรรม เกษตรกรชาวตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูนอายุ 57 ปี เป็นอีกผู้หนึ่ง ที่ได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาใช้ในการดำรงชีวิต โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดรายจ่ายในครัวเรือนที่ไม่จำเป็น และลดต้นทุนในการทำการเกษตร ปลูกพืชใช้น้ำน้อยในสวนลำไยพื้นที่ 4 ไร่ โดยปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ ปลูกไม้ผล เลี้ยงเป็ดและปลาโตเร็วนาๆชนิด...อ่านเพิ่มเติม

วัดพระธาตุหริภุญชัย

วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำพูน ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 150 เมตร มีถนนล้อมรอบสี่ด้าน คือ ถนนอัฏฐารสทางทิศเหนือ ถนนชัยมงคลทางทิศใต้ ถนนรอบเมืองทาง ทิศตะวันออก และถนนอินทยงยศทางทิศตะวันตก สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1651 ในรัชสมัยพระเจ้าอาทิตยราช ต่อมาได้รับการบูรณะต่อเติมมาเป็นลำดับ ภายในบริเวณวัดพระธาตุหริภุญชัย อ่านเพิ่มเติม...

บ้านสมุนไพร นางทอง คำรังษี


บ้านสมุนไพร นางทอง คำรังษี  เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่อนุรักษ์ไว้ซึ่งตำรับยาสมุนไพรพื้นบ้าน ยาบำรุงรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน การปลูกพื้ชที่ใช้สำหรับทำตำหรับยาสามัญประจำบ้าน  การทำเครื่องสืบชะตา การทำเครื่องสเดาะเคราะห์ การทำเครื่องครัวทานในงานพิธีต่างๆ ยาสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆที่ใช้รักษาโรคแทนยาปฏิชีวนะ...อ่านเพิ่มเติม

วัดขี้เหล็ก


เป็นโบราณสถานที่สำคัญที่ชุมชนให้ความสำคัญเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนประกอบด้วยพระวิหารหลวง เจดีย์ทรงโบราณ ศาลาการเปรียญ โบราณสถาน วัตถุของใช้โบราณของคนสมัยก่อน ซึ่งยังคงหลงเหลือและทิ้งร่องรอยไว้เป็นหลักฐานให้คนรุ่นหลังได้สืบต่อกันมา เทศกาลที่สำคัญประเพณีการสรงน้ำวัดพระธาตุขี้เหล็ก การทำบุญวันขึ้นปีใหม่ เทศกาลถวายสลากภัตร...อ่านเพิ่มเติม

กู่ช้างกู่ม้า

กู่ช้าง กู่ม้า เป็นโบราณสถานที่ตั้งอยู่คู่กัน เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองอีกแห่งหนึ่งที่ชาวลำพูนให้ความเคารพนับถือ เมื่อต้องการ สมหวังในสิ่งใด ก็มักจะมา ขอพรกันที่นี่ เรียกได้ว่าเป็นทั้งโบราณสถานที่มีความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ตลอดจนเป็น ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของคนในชุมชน ด้วยความเชื่อว่าเป็นสุสานช้างศึก - ม้าศึก คู่บารมีของพระนางจามเทวี   อ่านเพิ่มเติม...

วัดสันป่ายางหลวง

วัด สันป่ายางหลวงตั้งอยู่ในหมู่บ้านสันป่ายางหลวง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เป็นวัดเก่าแก่ แต่เดิมเป็นศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ ปัจจุบันมีหินทรายจำหลักปรากฎให้เห็นเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ต่อมาในสมัยหนึ่ง ได้มีพระเถระจากพม่า จำนวน ๓ รูป อ่านเพิ่มเติม...

บ้านเศรษฐกิจพอเพียง นางวิไลวรรณ เชษฐา


การใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียงของคนในชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินที่จะช่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการอยู่แบบพอเพียงภายไต้ที่ดินที่มีอยู่อย่างจำกัดและเพื่อการบริโภคในครัวเรือน การสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนบ้านท่าล้อ-ศรีคำ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน...อ่านเพิ่มเติม

สานตะกร้าจากเส้นพลาสติก


การจัดกิจกรรมการศึกษาในระดับตำบล มีหน้าที่จัดกระบวนการเรียนรู้และส่งเสริมการมีอาชีพมีงานทำที่ยั่งยืนในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ การส่งเสริมอาชีพการทำผลิตภัณฑ์พื้นบ้านการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก(ต่อยอดอาชีพ) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนมีอาชีพมีงานทำอย่างยั่งยืน...อ่านเพิ่มเติม

วัดเจดีย์ขาว


ครูบาเตชะ ได้ธุดงค์มาจากวัดดอยติมาปักกลดบริเวณเจดีย์สีขาวองค์เล็ก ๆ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า  กู่ขาว  บริเวณที่ดินดังกล่าวนี้ ชาวบ้านไม่กล้าเข้าไปจับจองเพราะเชื่อว่ามีเทวดารักษาอยู่  เมื่อครูบาเตชะมาอยู่ในที่นั้นได้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจชาวบ้านให้เกิดศรัทธาจึงพร้อมใจกันสร้างวัด  ชาวบ้านเรียกว่า วัดกู่ขาว...อ่านเพิ่มเติม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบหม้อลายเชือกทาบขูดขีดเป็นรูปงูไขว้ไปมา กระบอกธนู ขวานหินกะเทาะ ขวานหินขัด ที่มีอายุกว่า 4,000 ปี กับกลุ่มโครงกระดูกที่ขุดค้นพบ ณ บ้านวังไฮ คนกลุ่มนี้รู้จักประเพณีฝังศพด้วยการอุทิศสิ่งของให้ผู้ตายไว้ใช้ในปรโลก รู้จักทำการเกษตรกรรม ตั้งหลักแหล่ง มีการติดต่อสัมพันธ์กับภายนอก เห็นไดจากการพบลูกปัด สร้อยกำไลในหลุมศพทำด้วยหอยทะเล หินควอทซ์ สำริด ซึ่งชาวต่างชาตินำมาแลกเปลี่ยนค้าขาย อ่านเพิ่มเติม...

ข้อคิดเห็นจากเครือข่าย TKP

 
Copyright © 2018 ศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาชนจังหวัดลำพูน. Designed by OddThemes > Developed by mediathailand